วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556

อันตรายของไข่เยี้ยวม้า...



ไข่เยี่ยวม้า เป็นการถนอมอาหารโดยวิธีการหมักที่คนส่วนใหญ่เชื่อว่า ชาวจีนเป็นผู้ริเริ่ม เบื้องต้นเชื่อว่าน่าจะมาจากความคิดที่จะเก็บไข่ไว้ทานนานๆ โดยการดองเกลือ ต่อมาจึงคิดค้นหากรรมวิธีต่างๆ จนกลายมาเป็น ไข่เยี่ยวม้า
ไข่เยี่ยวม้า เป็นอาหารที่มีประโยชน์กับร่างกายพอๆกับไข่สด นอกจากนี้ยังสามารถเก็บไว้ได้นาน สะดวกแก่การขนส่ง มีแคลเซียมสูง การทำไข่เยี่ยวม้า ทำได้ทั้งไข่เป็ดและไข่ไก่ แต่ส่วนใหญ่ ไข่เยี่ยวม้าที่เราเห็นกันนั้น มักจะทำมาจาก ไข่เป็ด เนื่องจากไข่เป็ดมีขนาดใหญ่ และมีเปลือกที่หนา
กรรมวิธีการทำไข่เยี่ยวม้ามี 2 แบบ คือ แบบพอก คือการนำใบชา ปูนขาวเกลือป่นและขี้เถ้ามาผสมกัน แล้วใส่น้ำเย็นนวดให้เข้ากัน เสร็จแล้วนำไปพอกไข่ก่อนคลุกแกลบ
ส่วนอีกวิธีหนึ่งคือ การนำไปแช่ในน้ำที่มีส่วนผสมของสารละลายเบส ที่มี ปูนขาว เกลือ โซดาแอช ชาดำ และสังกะสีออกไซด์
วิธีนี้จะช่วยย่นระยะเวลาของการผลิตไข่เยี่ยวม้าได้ ปกติถ้าเราบริโภคไข่เยี่ยวม้า ที่มีกรรมวิธีแบบธรรมชาติก็จะไม่เกิดอันตราย
ทว่า ในปัจจุบันนี้บรรดาพ่อค้าแม่ค้ามักหัวใสเติมสารตะกั่วออกไซด์ หรือซัลไฟด์ลงในส่วนผสมที่ใช้พอกหรือแช่ เพื่อช่วยให้การเป็นไข่เยี่ยวม้า เกิดผลได้สูง ซึ่งอาจทำให้ไข่เยี่ยวม้าที่ผลิตมีสารตะกั่วปนเปื้อนได้
หากผู้บริโภครับประทานไข่เยี่ยวม้าดังกล่าวเข้าไปก็อาจเกิดอันตราย เพราะ ตะกั่วเป็นสารพิษที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรัง ถ้ารับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีตะกั่วปนเปื้อน เข้าสู่ร่างกายจะมีผลโดยตรงต่อเซลล์ไขกระดูก ระบบประสาท ระบบไต ผู้ป่วยมักมีอาการท้องผูก
ถ้าได้รับตะกั่วมากๆ กล้ามเนื้อกระดูก ข้อมือ ข้อเท้าอาจเป็นอัมพาต สมองบวม ชักและอาจถึงชีวิตได้ อาการเกิดพิษดังกล่าวใช้เวลานานนับเดือนจึงจะแสดงอาการ

วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2556

นักโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก

นักโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลกเป็นผู้หญิงเธอชื่อ เอดา ไบรอน Lady Augusta Ada Byron เป็นนักคณิตศาสตร์ แะละ เธอเป็นคนแรกที่สามารถนำอัลกอริทึม มาเรียบเรียงเป็นชุดคำสั่ง ให้กับเครื่องคำนวณได้ในปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) เป็นยุคที่ยังไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ หลังจากเมื่อถึงยุคของคอมพิวเตอร์ทำให้เธอได้รับการยกย่องว่าเป็นโปรแกรมเมอร์ แต่ผู้ที่ใช้คำว่า โปรแกรมเมอส์ในยุคของคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกคือ Edsger Wybe Dijkstra

วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556

New Year

New Year is the time at which a new calendar year begins and the calendar's year count is incremented. In many cultures, the event is celebrated in some manner. The New Year of the Gregorian calendar, today in worldwide use, falls on 1 January, as was the case with the Roman calendar. There are numerous calendars that remain in regional use that calculate the New Year differently.
The order of months in the Roman calendar was January to December since King Numa Pompilius in about 700 BC, according to Plutarch and Macrobius. According to Catholic tradition, 1 January is the day of the circumcision of Jesus (on the eighth day from his birth), when the name of Jesus was given to him (Luke 2:21).
It was only relatively recently that 1 January again became the first day of the year in Western culture. Until 1751 in England and Wales (and all British dominions) the new year started on 25 March – Lady Day, one of the four quarter days (the change to 1 January took place in 1600 in Scotland). Since then, 1 January has been the first day of the year. During the Middle Ages several other days were variously taken as the beginning of the calendar year (1 March, 25 March, Easter, 1 September, 25 December). In many countries, such as the Czech Republic, Italy, Spain and the UK, 1 January is a national holiday.
For information about the changeover from the Julian calendar to the Gregorian calendar and the effect on the dating of historical events etc., see Old Style and New Style dates.
With the expansion of Western culture to many other places in the world during recent centuries, the Gregorian calendar has been adopted by many other countries as the official calendar, and the 1 January date of New Year has become global, even in countries with their own New Year celebrations on other days (such as Israel, China and India). In the culture of Latin America there are a variety of traditions and superstitions surrounding these dates as omens for the coming year. The most common modern dates of celebration are listed below, ordered and grouped by their appearance relative to the conventional Western calendar.